• ไทย
    • English
  • English 
    • ไทย
    • English
  • Login
View Item 
  •   IR@RUTS
  • Faculty of Architecture
  • สาขาสถาปัตยกรรมและผังเมือง
  • Research Reports
  • View Item
  •   IR@RUTS
  • Faculty of Architecture
  • สาขาสถาปัตยกรรมและผังเมือง
  • Research Reports
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

การศึกษาและทดลองวัสดุเรซิ่น ผสมด้วยขี้เลื่อยเพื่อสร้างงานประติมากรรม

Thumbnail
View/Open
Text (304.9Kb)
Date
2019
Author
Bucha Pakakrong | บูชา ผกากรอง
Janejira Khunthong | เจนจิรา ขุนทอง
Metadata
Show full item record
Abstract
การศึกษา และทดลองวัสดุเรซิ่นผสมด้วยขี้เลื่อยยางพารา เพื่อสร้างงานประติมากรรม บูชา ผกากรอง1 และเจนจิรา ขุนทอง2 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อ ศึกษาค้นคว้า ประเภท กลวิธี และวัสดุอุปกรณ์ในแง่ของเทคนิคสำหรับการสร้างงานประติมากรรม และเพื่อนำวัสดุเหลือใช้ภายในท้องถิ่นมาสร้างสรรค์เป็นผลงานประติมากรรมตามแนวทางของผูวิจัย พัฒนารูปแบบของงานประติมากรรมในปัจจุบันด้านวัสดุ เทคนิค เผยแพร่ผลงานในลักษณะผลงานทางด้านวิชาการ และรูปแบบนิทรรศการศิลปะปริทัศน์ ผลการวิจัย การวิเคราะห์และทดลองวัสดุผสม พบว่า การทดลองวัสดุทดลองกับวัสดุขึ้นรูป โดยผลการทดลอง ด้านที่1). ได้สูตรและอัตราส่วนผสมวัสดุจำนวน 3 สูตร ได้แก ่Metd1 Metd2 และ Metd3 (ขี้เลื่อยไม้ยาพารา : เรซิ่น : น้ำยาตัวม่วง : ตัวทำปฏิกริยาเร่งแข็ง) ด้านที่2).ได้แม่แบบทดลองวัสดุผสมจำนวน 3 แบบ แบบที่1).Metd1 : SRD 25/50 ขนาดความกว้าง 4 นิ้ว ความยาว 4 นิ้ว ความหนา 2 ซม. แบบที่2).Metd2 : SRD 50/50 ขนาดความกว้าง 4 นิ้ว ความยาว 4 นิ้ว ความหนา 2 ซม. แบบที่3).Metd3 : SRD 75/50 ขนาดความกว้าง 4 นิ้ว ความยาว 4 นิ้ว ความหนา 2 ซม. ด้านที่3) ผลการทดสอบคุณสมบัติความคงทนและลักษณะความงามทางกายภาพของวัสดุ ด้านความคงทนต่อแรงอัด พบว่า แม่แบบวัสดุ Metd1 มีความคงทนแรงแรงอัดและความแข็ง (99.9.) มากกว่า Metd2 ซึ่งมีค่าความแข็งอยู่ที่ (99.7) และในขณะที่ Metd3 มีค่าความแข็ง (99.6) ส่วนลักษณะความงามทางกายภาพของวัสดุ แม่แบบวัสดุ Metd3 : SRD 75/50 ให้ผลได้ดีมีลักษณะพื้นผิวที่น่าสนใจและมีความใสมากกว่าMetd2 : SRD 50/50 ซึ่งมีลักษณะทึบและปรากฏมวลวัสดุผสมน้อยมาก สำหรับ Metd1 : SRD 25/50 มีความโปร่งและไม่ปรากฏลักษณะเด่นของวัสดุทดลอง สำหรับการพัฒนาเป็นผลงานประติมากรรมสร้างสรรค์ พบว่าสามารถ นำมาผ่านกระบวนการทางประติมากรรมและสร้างขึ้นเป็นผลงานได้ ประกอบเป็นผลงานประติมากรรม นูนต่ำ 1 แบบ จำนวน 3 ชิ้น ตามแม่แบบอัตราส่วนวัสดุ ประติมากรรมลอยตัว 1 แบบ 3 ชิ้น ตามแม่แบบอัตราส่วนวัสดุ และประติมากรรมสร้างสรรค์ ตามแม่แบบอัตราส่วน แบบละ 1 ชิ้น คำสำคัญ : ประติมากรรม ปั้นหล่อ ขี้เลื่อยไม้ยางพารา เรซิ่น เรซิ่นผสมขี้เลื่อย
URI
https://www.repository.rmutsv.ac.th/handle/123456789/3547
Collections
  • Research Reports [70]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
Contact Us | Send Feedback
Theme by 
Atmire NV
 

 

Browse

All of IRCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjects

My Account

Login

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
Contact Us | Send Feedback
Theme by 
Atmire NV